Rain making

Elise - A Responsive Blogger template, Lets Take your blog to the next level using this Awesome template

This is an example of a Optin Form, you could edit this to put information about yourself or your site so readers know where you are coming from. Find out more...


Following are some of the Advantages of Opt-in Form :-

  • Easy to Setup and use.
  • It Can Generate more email subscribers.
  • It’s beautiful on every screen size (try resizing your browser!)

Tuesday, June 28, 2016

// // Leave a Comment

wind140-SE-1-10kt-Jun 15 2015

ลักษณะการเกิดและเคลื่อนตัวของเมฆฝนจากลมทิศตะวันตกเฉียงใต้ (SSE) -140




ทำการวิเคราะห์โดยใช้ตัวอย่างค่าสภาวะอากาศ ทิศทางและความเร็วลม ในวันที่
15 มิถุนายน 2558 เพื่อศึกษาลักษณะการเกิดและเคลื่อนตัวของเมฆฝนในกรณีที่มีลมเป็นทิศตะวันออกเฉียงใต้ค่อนไปทางตะวันออก (ค่าทิศทางลมช่วง 130-150 องศา)
ตารางที่ 4 ผลตรวจอากาศชั้นบนและค่าดัชนีพยากรณ์อากาศวันที่ 15 มิถุนายน 2558

   ระดับ(ฟุต)
ความชื้นสัมพัทธ์
เฉลี่ย(%)
ลม(องศา/น๊อต)
ค่าดัชนีพยากรณ์
Index
ทิศทาง
ความเร็ว
1,000-5,000
76.4
265
04
การยกตัวระดับ(0-5,000 ฟุต) Li
0.1
5,000-10,000
78.8
200
03
การยกตัวระดับ(5,000-10,000) Si
2.2
10,000-15,000
77.0
140
08
โอกาสเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง Ki
33.1
15,000-20,000
66.4
120
12
โอกาสการทำฝนเมฆอุ่น Warm Cloud
Poor -18

ลักษณะอากาศระดับกว้างที่มีผลต่อการเกิดของเมฆ  มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามันและประเทศไทยมีกำลังค่อนข้างแรง ประกอบกับลมตะวันออกเฉียงใต้ยังคงพัดนำความชื้นจากทะเลจีนใต้เข้ามาปกคลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก
สรุปสภาพอากาศชั้นบนที่มีผลต่อการเกิดของเมฆ มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยค่อนข้างดีในช่วงระดับ 1,000-15,000 ฟุต มวลอากาศค่อนข้างทรงตัวถึงระดับ 10,000 ฟุต และมีโอกาสเกิดฝนฟ้าคะนองในเกณฑ์ปานกลาง ทิศทางลมเฉลี่ยในระดับเคลื่อนตัวของกลุ่มเมฆเป็นลมทิศตะวันออกเฉียงใต้ค่อนไปทางตะวันออก (ESE) ความเร็วลมเฉลี่ยประมาณ 3 น๊อต
Read More
// // Leave a Comment

wind200-SSW-1-10kt-12 มิ.ย. 2558

ลักษณะการเกิดและเคลื่อนตัวของเมฆฝนจากลมทิศตะวันตกเฉียงใต้ (SSE) -200




ทำการวิเคราะห์โดยใช้ตัวอย่างค่าสภาวะอากาศ ทิศทางและความเร็วลม ในวันที่
12 มิถุนายน 2558 เพื่อศึกษาลักษณะการเกิดและเคลื่อนตัวของเมฆฝนในกรณีที่มีลมเป็นทิศตะวันตกเฉียงใต้ค่อนไปทางใต้ (ค่าทิศทางลมช่วง 190-210 องศา)
ตารางที่ 3 ผลตรวจอากาศชั้นบนและค่าดัชนีพยากรณ์อากาศวันที่ 12 มิถุนายน 2558

   ระดับ(ฟุต)
ความชื้นสัมพัทธ์
เฉลี่ย(%)
ลม(องศา/น๊อต)
ค่าดัชนีพยากรณ์
Index
ทิศทาง
ความเร็ว
1,000-5,000
72.0
240
06
การยกตัวระดับ(0-5,000 ฟุต) Li
0.1
5,000-10,000
52.8
185
10
การยกตัวระดับ(5,000-10,000) Si
1.0
10,000-15,000
44.8
163
07
โอกาสเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง Ki
28.1
15,000-20,000
40.0
181
3
โอกาสการทำฝนเมฆอุ่น Warm Cloud
Poor -18

ลักษณะอากาศระดับกว้างที่มีผลต่อการเกิดของเมฆ มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามันและประเทศไทย และลมตะวันออกเฉียงใต้ที่พัดนำความชื้นจากทะเลจีนใต้เข้ามาปกคลุมภาคและภาคตะวันออกมีกำลังแรงขึ้น
สรุปสภาพอากาศชั้นบนที่มีผลต่อการเกิดของเมฆมีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยค่อนข้างดีในช่วงระดับ 1,000-5,000 ฟุต มวลอากาศค่อนข้างทรงตัวถึงระดับ 10,000 ฟุต และมีโอกาสเกิดฝนฟ้าคะนองในบางพื้นที่ ทิศทางลมเฉลี่ยในระดับเคลื่อนตัวของกลุ่มเมฆเป็นลมทิศตะวันตกเฉียงใต้ค่อนไปทางใต้ (SSW) ความเร็วลมเฉลี่ยประมาณ 10 น๊อต
Read More
// // Leave a Comment

Wind160&11-18kt 14 พ.ค. 2558

ลักษณะการเกิดและเคลื่อนตัวของเมฆฝนจากลมทิศตะวันตกเฉียงใต้ (SSE) - 160





ทำการวิเคราะห์โดยใช้ตัวอย่างค่าสภาวะอากาศ ทิศทางและความเร็วลม ในวันที่
14 พฤษภาคม 2558  เพื่อศึกษาลักษณะการเกิดและเคลื่อนตัวของเมฆฝนในกรณีที่มีลมเป็นทิศตะวันออกเฉียงใต้ (ค่าทิศทางลมช่วง 150-170 องศา)
ตารางที่ 2 ผลตรวจอากาศชั้นบนและค่าดัชนีพยากรณ์อากาศวันที่ 14 พฤษภาคม 2558

   ระดับ(ฟุต)
ความชื้นสัมพัทธ์
เฉลี่ย(%)
ลม(องศา/น๊อต)
ค่าดัชนีพยากรณ์
Index
ทิศทาง
ความเร็ว
1,000-5,000
70.0
202
11
การยกตัวระดับ(0-5,000 ฟุต) Li
-0.4
5,000-10,000
73.0
-
-
การยกตัวระดับ(5,000-10,000) Si
2.5
10,000-15,000
60.0
097
05
โอกาสเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง Ki
31.9
15,000-20,000
36.0
063
10
โอกาสการทำฝนเมฆอุ่น Warm Cloud
Poor -14

ลักษณะอากาศระดับกว้างที่มีผลต่อการเกิดเมฆ บริเวณความกดอากาศสูงที่ปกคลุมทะเลจีนใต้ตอนบนมีเริ่มกำลังอ่อนลง แต่ลมตะวันออกเฉียงใต้ยังคงพัดปกคลุมประเทศไทยและอ่าวไทย ในขณะที่บริเวณประเทศไทยตอนบนมีอากาศร้อนและร้อนจัดบางพื้นที่ 
สรุปสภาพอากาศชั้นบนที่มีผลต่อการเกิดของเมฆ มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยค่อนข้างดีในช่วงระดับ 1,000-15,000 ฟุต มวลอากาศมีการยกตัวในระดับล่างและมีโอกาสเกิดฝนฟ้าคะนองปานกลาง ทิศทางลมเฉลี่ยในระดับเคลื่อนตัวของกลุ่มเมฆเป็นลมทิศตะวันออกเฉียงใต้ (SE)



Read More