ทำการวิเคราะห์โดยใช้ตัวอย่างค่าสภาวะอากาศ
ทิศทางและความเร็วลม ในวันที่
15 มิถุนายน 2558 เพื่อศึกษาลักษณะการเกิดและเคลื่อนตัวของเมฆฝนในกรณีที่มีลมเป็นทิศตะวันออกเฉียงใต้ค่อนไปทางตะวันออก (ค่าทิศทางลมช่วง 130-150 องศา)
15 มิถุนายน 2558 เพื่อศึกษาลักษณะการเกิดและเคลื่อนตัวของเมฆฝนในกรณีที่มีลมเป็นทิศตะวันออกเฉียงใต้ค่อนไปทางตะวันออก (ค่าทิศทางลมช่วง 130-150 องศา)
ตารางที่ 4 ผลตรวจอากาศชั้นบนและค่าดัชนีพยากรณ์อากาศวันที่ 15
มิถุนายน 2558
ระดับ(ฟุต)
|
ความชื้นสัมพัทธ์
เฉลี่ย(%)
|
ลม(องศา/น๊อต)
|
ค่าดัชนีพยากรณ์
|
Index
|
|
ทิศทาง
|
ความเร็ว
|
||||
1,000-5,000
|
76.4
|
265
|
04
|
การยกตัวระดับ(0-5,000 ฟุต) Li
|
0.1
|
5,000-10,000
|
78.8
|
200
|
03
|
การยกตัวระดับ(5,000-10,000) Si
|
2.2
|
10,000-15,000
|
77.0
|
140
|
08
|
โอกาสเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง Ki
|
33.1
|
15,000-20,000
|
66.4
|
120
|
12
|
โอกาสการทำฝนเมฆอุ่น Warm Cloud
|
Poor -18
|
ลักษณะอากาศระดับกว้างที่มีผลต่อการเกิดของเมฆ มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามันและประเทศไทยมีกำลังค่อนข้างแรง
ประกอบกับลมตะวันออกเฉียงใต้ยังคงพัดนำความชื้นจากทะเลจีนใต้เข้ามาปกคลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
และภาคตะวันออก
สรุปสภาพอากาศชั้นบนที่มีผลต่อการเกิดของเมฆ
มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยค่อนข้างดีในช่วงระดับ 1,000-15,000 ฟุต มวลอากาศค่อนข้างทรงตัวถึงระดับ 10,000 ฟุต
และมีโอกาสเกิดฝนฟ้าคะนองในเกณฑ์ปานกลาง
ทิศทางลมเฉลี่ยในระดับเคลื่อนตัวของกลุ่มเมฆเป็นลมทิศตะวันออกเฉียงใต้ค่อนไปทางตะวันออก
(ESE) ความเร็วลมเฉลี่ยประมาณ 3 น๊อต
0 comments:
Post a Comment